การจัดการสารเคมีอันตราย ในโรงงานอุตสาหกรรม

การจัดการสารเคมีอันตราย

การบริหาร และการจัดการสารเคมีอันตราย (Hazardous Waste)

   ในปัจจุบันโลกเราได้มีการพัฒนาวัตกรรมใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการบ่งบอกถึงเศรษฐกิจที่มีความเติบโต และมั่นคง แต่ใครหลายคนมักจะลืมมองกลับไปว่า ยิ่งมีการผลิตหรือพัฒนาสินค้ามากขึ้นเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีของเสียมากขึ้นเช่นกัน แต่ถ้าหากผู้ก่อกำเนิดของเสียไม่มีการจัดการ และควบคุมด้วยวิธีที่ถูกต้อง ก็จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิตรอบข้างได้

สารเคมีอันตราย คือ

   สารที่มีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยต่อสิ่งมีชีวิต และ สิ่งแวดล้อม ต่อเมื่อมีการสัมผัส และการปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม โดยสารเคมีอันตรายนั้น มักจะมีความพิษที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตสูง ซึ่งหากมีการสัมผัสอาจมีผลกระทบทันทีด้วยเหตุนี้ การจัดการ และ ใช้สารเคมีอันตราย จะต้องทำอย่างรอบคอบ และปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดไว้

ร่างกายได้รับสารเคมีบ่อย จะส่งผลต่อร่างกายอย่างไร?

1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น การเพิ่มน้ำหนักหรือการลดน้ำหนัก, การพัฒนากล้ามเนื้อ, หรือการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั่วไปของร่างกาย.
2. การเปลี่ยนแปลงทางระบบต่างๆของร่างกาย เช่น การรับรู้ของระบบประสาทลดลง ,ระบบทางเดินอาหารมีปัญหา ,ระบบอวัยวะภายในอื่นๆได้รับผลกระทบ

สารเคมีอันตราย มีอะไรบ้าง

  1. สารเคมีที่เป็นพิษ (Toxic Chemicals)
    • สารหนู (Arsenic) ใช้ในอุตสาหกรรมโลหะและการเกษตร สารหนูสามารถก่อให้เกิดพิษเฉียบพลันและเรื้อรังได้
    • เบนซีน (Benzene) พบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เบนซีนสามารถก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์ได้
  2. สารเคมีที่กัดกร่อน (Corrosive Chemicals)
    • กรดกำมะถัน (Sulfuric Acid) ใช้ในการผลิตแบตเตอรี่และสารเคมีอื่น ๆ กรดกำมะถันสามารถกัดกร่อนเนื้อเยื่อและโลหะได้
    • โซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium Hydroxide) ใช้ในการทำสบู่และสารทำความสะอาด โซเดียมไฮดรอกไซด์สามารถกัดกร่อนผิวหนังและตาได้
  3. สารเคมีที่ติดไฟได้ (Flammable Chemicals)
    • เมทานอล (Methanol) ใช้เป็นสารทำละลายและเชื้อเพลิง เมทานอลติดไฟได้ง่ายและเป็นพิษ
    • อะเซทิลีน (Acetylene) ใช้ในการเชื่อมและตัดโลหะ อะเซทิลีนติดไฟได้ง่ายและสามารถเกิดระเบิดได้
  4. สารเคมีที่ระเบิดได้ (Explosive Chemicals)
    • ไนโตรกลีเซอรีน (Nitroglycerin) ใช้ในวัตถุระเบิดและยารักษาโรคหัวใจ ไนโตรกลีเซอรีนมีความไวสูงและสามารถเกิดระเบิดได้
    • แอมโมเนียมไนเตรท (Ammonium Nitrate) ใช้ในปุ๋ยและวัตถุระเบิด แอมโมเนียมไนเตรทสามารถเกิดระเบิดได้เมื่อผสมกับสารเชื้อเพลิง
  5. สารเคมีที่เป็นกัมมันตรังสี (Radioactive Chemicals)
    • ยูเรเนียม (Uranium) ใช้ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และอาวุธนิวเคลียร์ ยูเรเนียมสามารถปล่อยรังสีที่เป็นอันตรายต่อเซลล์และเนื้อเยื่อ
    • พลูโตเนียม (Plutonium) ใช้ในอาวุธนิวเคลียร์ พลูโตเนียมมีความเป็นกัมมันตรังสีสูงและเป็นพิษร้ายแรง

การควบคุมสารเคมีอันตราย หรือ ขยะอันตราย

1. การควบคุมการผลิตให้มีความปลอดภัย จากการกระบวนการการผลิต หรือการใช้สารเคมีในลักษณะที่มีความปลอดภัยสูงสุด เช่น การใช้อุปกรณ์ป้องกัน และการเลือกใช้วัสดุในการกักเก็บ ที่มีความปลอดภัยกับการใช้งาน

2. การจัดเก็บสารเคมี การจัดเก็บสารเคมีให้อยู่ในสถานที่ที่มีความเหมาะสม ไม่ควรเก็บรวมกับสารเคมีที่อาจก่อให้เกิดปฏิกิริยาไว้ในสถานที่เดียวกัน

3. การให้ข้อมูลและการสื่อสารที่ชัดเจน การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และชัดเจนเกี่ยวกับสารเคมีแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น คำแนะนำการใช้, ป้ายเตือน และข้อมูลความเสี่ยง

4. การฝึกอบรมผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้มีวิธีการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย, การจัดการสารเคมี และวิธีการปฏิบัติในกรณีฉุกเฉิน

การจัดการสารเคมีอันตราย หรือ ขยะอันตราย ที่ไม่ใช้แล้ว?

    เป็นอีกหนึ่งกระบวนการที่มีความจะเป็น และต้องทำอย่างรอบคอบ ด้วยวิธีการทำลายที่มีความปลอยภัยสูง ซึ่งการจัดการสารเคมีอันตรายที่ไม่ใช้แล้ว หรือสารเคมีที่หมดอายุนั้น จำเป็นที่ต้องแยกการทำลายออกจากการกำจัดกากอุตสาหกรรมที่ไม่มีความอันตราย เพราะ การกำจัดสารเคมีที่มีความอันตรายนั้นจะต้องกระบวนการที่มากกว่า เพื่อไม่ให้สงผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบข้าง ไม่อย่างนั้นจะโดนบทลงโทษกฎหมายกระทรวง

ขั้นตอน การจัดการสารเคมีอันตราย หรือ ขยะอันตราย

1.สถานที่จัดเก็บสารเคมีอันตรายจะต้องมีป้ายแสดงให้เห็นได้อย่างเด่นชัด

2.แยกสารเคมีอันตรายไปเก็บในสถานที่ที่มีความเหมาะสม โดยไม่ไปทำปฏิกิริยากับสารเคมีประเภทอื่นๆ

3.ภาชนะบรรจุจะต้องมีฉลากที่บ่งบอกถึง สารเคมีอันตราย โดยจำเป็นต้องมีสภาพที่เรียบร้อย

4.นำสารเคมีอันตรายไปกำจัดที่ En-technology

การจัดการสารเคมีอันตราย หรือ ขยะอันตราย อย่างเป็นระบบ

1.โรงงานจะต้องมีสถานที่จัดเก็บสารเคมีอันตราย และต้องมีป้ายแสดงให้เห็นได้อย่างเด่นชัด

2.แยกสารเคมีอันตรายไปเก็บในสถานที่ที่มีความเหมาะสม โดยไม่ไปทำปฏิกิริยากับสารเคมีประเภทอื่นๆ

3.ภาชนะบรรจุจะต้องมีฉลากที่บ่งบอกถึง สารเคมีอันตราย โดยจำเป็นต้องมีสภาพที่เรียบร้อย

4.โรงงานจะต้องมีมาตรการป้องกัน ควบคุม บำบัด หรือกำจัดสารเคมีอันตราย

5.การนำสารเคมีอันตรายไปกำจัดที่ En-technology

วิธีกำจัดการสารเคมีอันตราย

1.การทำลายทางกายภาพ คือ การเผาไหม้ โดยการนำสารเคมีอันตรายไปทำลายในเตาเผาที่มีความร้อนสูง ด้วยการควบคุมอย่างเข้มงวดจากบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ

2.การทำลายทางเคมี คือ การใช้สารเคมีที่ฤทธิ์การทำลายเป้าหมายโดยการใช้สารที่มีความกระตุ้นเคมี เพื่อเร่งกระบวนการทำลาย

3.การทำลายทางชีวภาพ คือ การใช้จุลินทรีย์ ที่มีความสามารถในการทำลายสารเคมี

4.การทำลายทางทำลายทรัพย์สิน คือ การใช้เครื่องบดที่มีสมรรถนะเพียงพอต่อการทำลาย

จากที่กล่าวมา 

ซึ่งกระบวนการทำลาย สารเคมีอันตราย ทั้งหมดที่กล่าวมานั้น จำเป็นที่จะต้องทำตามข้อกำหนดความปลอดภัยที่ถูกกำหนดไว้ โดยการเลือกวิธีทำลายที่เหมาะสมจะขึ้นอยู่กับลักษณะของสารเคมี, ปริมาณ, และข้อกำหนดสิ่งแวดล้อมที่กำหนดไว้เท่านั้น

ขั้นตอนการให้บริการ กำจัดกากอุตสาหกรรมอันตราย

  1. เข้าพบลูกค้าเพื่อสอบถามรายละเอียด
  2. ดูหน้างานว่าเป็น waste ประเภทไหนบ้าง อันตรายหรือไม่อันตราย
  3. ประเมินว่าต้องใช้รถขนส่งประเภทไหน เช่น รถกระบะ4ล้อ, Roll off  Box ,  Roll off  Tank
  4. เก็บตัวอย่างเพื่อนำมาวิเคราะห์ทางกายภาพเบื้องต้น
  5. จัดทำใบเสนอราคาภายใน 2 วัน
  6. วิเคราะห์ LAB 7  วัน (ฟรี)
  7. ลูกค้าต้องเตรียมตัวอย่างเพื่อที่จะนำไปวิเคราะห์ประมาณ 1 กิโลกรัม/ตัวอย่าง
  8. เซลล์จะไปรับตัวอย่างเพื่อส่งวิเคราะห์กับห้องแลปที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงาน ใช้เวลา 7 วัน
  9. ส่งผลวิเคราะห์ให้กับทางลูกค้า
  10. ขออนุญาตกับกรมโรงงาน (3-5วัน)
  11. ลูกค้าที่ไม่เคยยื่นขออนุญาตในระบบกรมโรงงาน ทางเอ็นเทคฯ ดำเนินการสมัครการใช้บริการให้จนแล้วเสร็จ
  12. Support ข้อมูลการยื่นขออนุญาตให้กับลูกค้า (พร้อมผลวิเคราะห์ ถ้ามี)
  13. มีเจ้าหน้าที่คอยติดตามผลอนุญาตกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมให้ ใช้เวลาประเมาน 3-5 วัน
  14. แจ้งวันขนส่งล่วงหน้า 12 ชั่วโมง – รถขนส่ง บริการ 24 ชั่วโมง
  15. เซลล์เช็ครถขนส่งให้กับลูกค้า
  16. เซลล์จัดเตรียมเอกสารกำกับการขนส่งกากของเสียออกนอกบริเวณโรงงาน

 เงื่อนไขการให้บริการ

✅ รับกำจัดกากอุตหกรรมขั้นต่ำ 100 กิโลกรัม

✅ ให้บริการกลุ่มอุตสาหกรรม บริษัท โรงพยาบาล และราชการ เท่านั้น

✅ ให้บริการลูกค้าที่มีแผนดำเนินการภายในระยะเวลา 1 ปี

✅ ให้บริการทำความสะอาดในพื้นที่อับอากาศ บ่อน้ำเสีย,บ่อเก็บน้ำ,ถังไซโลวัตถุดิบ

❎ ไม่รับซื้อกากอุตสาหกรรม

"หากคุณรู้สึกว่า ขั้นตอนหรือการดำเนินการเหล่านี้ ไม่ใช่สิ่งที่คุณถนัด ลองมาใช้บริการส่งกำจัดของเสียกับเราสิ!"

หมดกังวลกับขั้นตอนเหล่านี้

หากท่านเลือกใช้บริการเอ็น-เทคฯ
- เรามีทีมผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษา ฟรี!
- เรามีทีมซัพพอร์ตยื่นขออนุญาตให้ ฟรี!
- เรามีเจ้าหน้าที่ติดตามผลการอนุมัติกับกรมโรงงานฯ หรืออุตสาหกรรมจังหวัด ฟรี!
- เรามีเจ้าหน้าที่คอยติดตาม และแจ้งเตือนก่อนที่ใบอนุญาตเดิมจะหมดอายุ ฟรี!

สนใจใช้บริการ กำจัดของเสีย
โทรเลย Hotline 24 ชม. : 086 318 8970
แอดไลน์ได้ที่ LINE : >>คลิกแอดไลน์<<

บริการฟรีๆ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายหายห่วงให้ลูกค้าของเรา

✅หมดกังวลกับการดำเนินการผ่านระบบอิเล็คทรอนิกส์
✅หมดกังวลเรื่องงานเอกสาร มอบงานยุ่งๆให้เราดูแล
✅หมดกังวลเรื่องกฏหมาย เราเชี่ยวชาญพร้อมสนับสนุน
✅หมดกังวลเรื่องเวลา ให้เราติดตามและดูแลทุกขั้นตอนการติดตามผล
Free ที่ปรึกษา แนะนำทุกขั้นตอน พร้อมให้บริการตลอด 24 Hr.
ให้เรื่องกฏหมายกากอุตสาหกรรมเป็นเรื่องง่ายๆ สำหรับคุณ
โทรเลย ☎ : 0863188970 (24 ชั่วโมง)
📌 สอบถามและติดต่อบริการ
📲 : LINE : @entechnology

บริษัทรับกำจัดขยะโรงงานอุตสาหกรรม รับกำจัดกากอุตสาหกรรม รับกำจัดกากของเสีย รับกำจัดกากตะกอน รับทำลายสินค้า นำมาดำเนินการตามรายละเอียดใบอนุญาตประเภท 105  (3-105-145/47สป) และ ใบอนุญาตโรงงานประเภท 106 (3-106-5/48สป) ถูกต้องตามกฎหมาย โดยที่
– ใบอนุญาตประเภท 105 คือ เป็นการคัดแยกวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (011)
– ใบอนุญาตลำดับที่ 106 คือ การนำของเสียที่มีค่าความร้อนเช่น Solvent , น้ำมันใช้แล้ว , น้ำมันปนน้ำ , เศษผ้าปนเปื้อน , ขยะปนเปื้อน , วัสดุปนเปื้อน , ถุงมือปนเปื้อน , กากสี , COOLANT , สารดูดความชื้น , วัสดุพ่นขัดผิว , กากหมึกพิมพ์ เป็นต้น มาผ่านกระบวนการ BLENDING แล้วนำไปเป็นเชื้อเพลิงผสมให้กับโรงปูน (042) และหลอดไฟเสื่อมสภาพ , แบตเตอรี่ , กระป๋องสเปรย์, ผงคาร์บอน , SLAG , ผงเจียร  นำมาผ่านกระบวนการรีไซเคิล (049) และภาชนะปนเปื้อน นำมาผ่านกระบวนการล้างถัง (049)

♻️En-Tech บริการปรึกษาปัญหากากอุตสาหกรรมกับเราฟรี วางภาชนะบรรจุขยะฟรี แถมเรียกใช้บริการงาน 24ชม.

  • รับกำจัดกากของเสีย อันตราย และไม่อันตราย
  • รับตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม
  • รับขนส่งกากของเสีย
  • รับ WASTE ไปทำปุ๋ย
  • รับ CLEANING บ่อบำบัด รีโนเวท และ ดูแลระบบบ่อบำบัด
  • มีโรงปุ๋ยเป็นของตนเองเอง ที่ฉะเชิงเทรา
  • มีโรงงานเองที่มีใบอนุญาตถูกต้อง 105 และ 106
  • มีรถขนส่งเองที่มี วอ.8 และ GPS ทุกคัน
  • มีเจ้าหน้าที่ในการช่วยขนย้ายของเสีย ฟรี !!!!!!!!
  • มีเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการอบรมทำงานในที่อับอากาศ

เหตุผล ที่ควรใช้บริการจากเรา ให้บริการ 24 ชั่วโมง ลูกค้าเรียกใช้บริการได้ทันที , มีรถขนส่งเองทุกประเภท ตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ และบริการตรงเวลา , มีโรงปุ๋ยเป็นของตัวเอง ชำนาญและรู้วิธี ในการนำ Waste มาทำปุ๋ย , มีใบอนุญาต 105 และ 106 รับของเสียมา Blending , Recycle ได้เอง , มี Reference ลูกค้าใช้บริการทุกกลุ่มอุตสาหกรรม มีความเชี่ยวชาญการ กำจัดกากอุตสาหกรรม และไม่ผิดพลาด , ทำความสะอาดหน้างานหลังการขนงานเสร็จสิ้นทุกครั้ง ลูกค้าไม่ต้องจัดการเอง , ติดตั้ง GPS ที่รถทุกคัน, มีภาพถ่ายและเอกสารยืนยันการทำลาย เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจว่าของเสียนำไปกำจัดแล้วจริง

Our Customer

ลูกค้าบางส่วนของเรา

รายชื่อที่จังหวัดที่เราให้บริการ กำจัดกากอุตสาหกรรม

สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง นทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อำนาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวลำภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส